มูลนิธิพลังงานเพื่อสิ่งแวดล้อม มพส

โครงการปัจจุบัน

โครงการในอดีต

กิจกรรม

บทความ
และเอกสารเผยแพร่

ร่วมบริจาค

โครงการอุ้มผาง

โครงการพลังงานหมุนเวียน จังหวัดแม่ฮ่องสอน

โครงการในอดีต

โครงการพลังน้ำบ้านแม่โจ้
โรงไฟฟ้าพลังน้ำบ้านแม่โจ้ ตั้งอยู่อำเภอแม่แตง จังหวัดเชียงใหม่ โดยชาวบ้านแม่โจ้ ได้รับประโยชน์จากการใช้น้ำเพื่อการเกษตรและการอุปโภคบริโภคจากอ่างเก็บน้ำ ห้วยแม่เลิม ซึ่งเป็นอ่างเก็บน้ำตามแนวพระราชดำริของพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว ต่อมาชาวบ้านได้รับความรู้เรื่องการบริหารจัดการน้ำตามแนวพระราชดำริของพระ บาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว ชาวบ้านจึงมีความคิดในการใช้ประโยชน์จากศักยภาพพลังน้ำของอ่างเก็บน้ำห้วย แม่เลิมในการผลิตไฟฟ้าเพื่อขายเข้าระบบของการไฟฟ้า โดยจะนำรายได้มาใช้ในการอนุรักษ์ป่าต้นน้ำ และการทำการเกษตรไร้สารเคมี เพื่อรักษาความสมบูรณ์ของทรัพยากรน้ำและคุณภาพน้ำที่สะอาด
ผู้สนับสนุน 1. สหกรณ์ไฟฟ้าพลังน้ำบ้านแม่โจ้
2. บริษัท ไทยออยล์ จำกัด (มหาชน)
3. กรมพัฒนาพลังงานทดแทนและอนุรักษ์พลังงาน (พพ.)
4. มูลนิธิพลังงานเพื่อสิ่งแวดล้อม (มพส.)
สถานที่ตั้ง บ้านแม่โจ้ ต.บ้านเป้า อ.แม่แตง จ.เชียงใหม่
เทคโนโลยี Turko Turbine (37 kw Capacity)
แผนงาน • โครงการพัฒนาของชุมชน
- การท่องเที่ยวเชิงอนุรักษ์
- ป่าชุมชน
- โฮม์สเตย์ บ้านดิน
- โครงการเกษตรไร้สาร
กำลังการผลิตไฟฟ้า กำลังการผลิตไฟฟ้าติดตั้ง 27.57 kW
สถานภาพ ขายไฟเข้าระบบเมื่อ ก.พ. 2557
ชาวบ้าน จำนวน 118 ครัวเรือน
มีอาชีพทำการเกษตร เช่น กระเทียม มันฝรั่ง
โครงการติดตั้งระบบผลิตไฟฟ้าด้วยเซลล์แสงอาทิตย์สำหรับโรงเรียนตำรวจตระเวนชายแดน อ.แม่สะเรียง จ.แม่ฮ่องสอน
สามารถ download ข้อมูลเพิ่มเติมได้ที่นี่
ผู้สนับสนุน - สำนักงานคณะกรรมการกำกับกิจการพลังงาน (สกพ.)

• ผู้ดำเนินการ
- กรมพัฒนาพลังงานทดแทนและอนุรักษ์พลังงาน (พพ.)
- มูลนิธิพลังงานเพื่อสิ่งแวดล้อม (มพส.)
สถานที่ตั้ง • โรงเรียนตำรวจตระเวนชายแดนจำนวน 3 แห่ง
1.บ้านปอหมื้อ ณ อำเภอแม่สะเรียง จังหวัดแม่ฮ่องสอน
2.บ้านจอปร่าคี ณ อำเภอแม่สะเรียง จังหวัดแม่ฮ่องสอน
3.บ้านโกแประ ณ อำเภอแม่สะเรียง จังหวัดแม่ฮ่องสอน
เทคโนโลยี แผงเซลล์แสงอาทิตย์แบบ Poly-Crystalline 2.6 kW
แผนงาน แสงสว่าง
สถานภาพ เริ่มจ่ายไฟฟ้า ธ.ค. 55
ประโยชน์ เพื่อใช้ในระบบส่องสว่างให้กับโรงเรียนตำรวจตระเวนชายแดน และวิทยุสื่อสาร
โครงการโรงไฟฟ้าพลังน้ำวัดจำปาทอง (ระยะที่ 2)
ขั้นตอนการดำเนินงาน เป็นโครงการส่วนขยายจากโครงการ 1 ซึ่งติดตั้งเครื่องสูบน้ำแบบกลับทางเพื่อใช้ในการผลิตไฟฟ้า โดยติดตั้งกังหันน้ำชนิด Turgo ที่ผลิตในประเทศไทยและปรับปรุงประสิทธิภาพโดยการติดตั้งหัวฉีดน้ำจำนวน 4 ชุด
ผู้สนับสนุน - บริษัท ไทยออยล์ จำกัด (มหาชน)

• ผู้ดำเนินการ
- กรมอุทยานแห่งชาติ สัตว์ป่าและพันธุ์พืช
- กรมพัฒนาพลังงานทดแทนและอนุรักษ์พลังงาน (พพ.)
- มูลนิธิพลังงานเพื่อสิ่งแวดล้อม (มพส.)
สถานที่ตั้ง วัดจำปาทอง ต.แม่ต้ำ อ.เมือง จ.พะเยา
เทคโนโลยี ขนาดกำลังการผลิตติดตั้ง 7.5 กิโลวัตต์ (เดินเครื่องสูงสุด 5 กิโลวัตต์)
แผนงาน โครงการที่ 1: จ่ายไฟฟ้าให้กับอุทยานฯ โดยมีเจ้าหน้าที่ อส. ที่เป็นผู้ดูแลเครื่องผลิตไฟฟ้าจากดีเซลเดิมของ อส. เป็นผู้ดูแล
โครงการที่ 2: จ่ายไฟฟ้าให้กับวัดจำปาทอง โดยมีหลวงพี่เป็นผู้ดูแล
สถานภาพ แล้วเสร็จในเดือนพฤษภาคม 2555
โรงไฟฟ้าพลังน้ำสำหรับโรงเรียนตำรวจตระเวนชายแดน
ผู้สนับสนุน - สำนักงานคณะกรรมการกำกับกิจการพลังงาน (สกพ.)

• ผู้ดำเนินการ
- กรมพัฒนาพลังงานทดแทนและอนุรักษ์พลังงาน (พพ.)
- มูลนิธิพลังงานเพื่อสิ่งแวดล้อม (มพส.)
สถานที่ตั้ง ณ บ้านวะกะเลโค๊ะ ต.แม่ตื่น อ.แม่ระมาด จ.ตาก
ณ บ้านพอบือละคี อ.ท่าสองยาง จ.ตาก
เทคโนโลยี กังหันน้ำชนิด Turko ขนาด 5.5 กิโลวัตต์
Rated Power 2.51 kW
สถานภาพ ดำเนินการจ่ายไฟฟ้าให้กับโรงเรียนในเดือนกรกฏาคม 2554
ลดการปล่อย GHG 6.5 ตัน CO2/ปี
ประโยชน์ • จัดหาไฟฟ้าให้รับโรงเรียนตำรวจตระเวนชายแดน
• ยกระดับคุณภาพการศึกษาให้กับชาวบ้านในพื้นที่
• ลดการตัดไม้ทำลายป่าโดยการสร้างจิตสำนึกให้กับชุมชน
ถึงประโยชน์ของการอนุรักษ์ป่าต้นน้ำ ซึ่งเป็นแหล่งพลังงาน
ของชุมชน
• ลดปัญหายาเสพติดในพื้นที่ จากการส่งเสริมการศึกษาที่ดี
โครงการผลิตก๊าซชีวภาพจากฟาร์มเลี้ยงสัตว์
ผู้สนับสนุน บริษัท ไทยออยล์ จำกัด (มหาชน)

• ผู้ดำเนินการ
- มูลนิธิพลังงานเพื่อสิ่งแวดล้อม (มพส.)
สถานที่ตั้ง ชุมชนบ้านนเรศ อ.ดอนเจดีย์ จ.สุพรรณบุรี
เทคโนโลยี Fixed Dome
สุกร 300 ตัว
เริ่มดำเนินการ เริ่มดำเนินการก่อสร้างกุมภาพันธ์ 2552
ก่อสร้างแล้วเสร็จและเริ่มจ่ายก๊าซชีวภาพเพื่อทดแทนการใช้
ก๊าซหุงต้มของชาวบ้านตั้งแต่เดือนมีนาคม 2554
สถานภาพ จ่ายก๊าซชีวภาพให้กับชาวบ้านโครงการละ 20 ครัวเรือน รวมถึงวัด
ลดการปล่อย GHG 94.24 ตัน CO2/ปี
ประโยชน์ • ลดรายจ่ายจากการใช้ก๊าซหุงต้มในการหุงหาอาหาร
• ลดปัญหามลภาวะทางกลิ่นที่เกิดจากน้ำเสียจากฟาร์มเลี้ยงสัตว์
• ลดปัญหาความขัดแย้งระหว่างฟาร์มเลี้ยงสัตว์กับชุมชน
• การสร้างความร่วมมือภายในชุมชนในการบริหารโครงการให้เกิด
ความยั่งยืนโดยกำหนดให้มีการจัดเก็บค่าธรรมเนียม
โดยผู้แทนชุมชนเพื่อใช้เป็นค่าใช้จ่ายในการซ่อมบำรุงระบบ
โครงการเตานึ่งเมี่ยงประสิทธิภาพสูง
ผู้สนับสนุน - บริษัท ไทยออยล์ จำกัด (มหาชน)

• ผู้ดำเนินการ
- มูลนิธิพลังงานเพื่อสิ่งแวดล้อม (มพส.)
สถานที่ตั้ง หมู่บ้านป่าเมี่ยง อ.เมืองปาน จ.ลำปาง
เทคโนโลยี เตานึ่งเมี่ยงประสิทธิภาพสูง เพิ่มพื้นที่ผิวในการถ่ายเทความร้อนของถังผลิตไอน้ำขึ้น 400%
พร้อมทั้งติดตั้งปล่องสูงเพื่อเพิ่มแรงดูดเปลวไฟผ่านท่อไฟ ส่งผลให้ลดการใช้ไม้ฟืนลง 50%
งบประมาณ เฟส 1 : 81 ชุด
เฟส 2 : 38 ชุด
สถานภาพ เฟส 1 : มพส. ได้ดำเนินการติดตั้งเตาแล้วเสร็จจำนวน 81 ชุด
เฟส 2 : เนื่องจากมีชาวบ้านและหมู่บ้านใกล้เคียงขอเข้าร่วมโครงการ
เพิ่มเติมจำนวน 38 ครัวเรือน (38 ชุด)
มพส. ได้ดำเนินการเปลี่ยนหลอด T8 เป็น T5
ให้วัดประจำหมู่บ้าน
ลดการปล่อย GHG เฟส 1 : 15,700 ตัน CO2/ปี และลดการตัดไม้ 4,860 ต้น/ปี
เฟส 2 : 7,370 ตัน CO2/ปี และลดการตัดไม้ 2,280 ต้น
ประโยชน์ • ลดการตัดไม้ทำลายป่า
• บรรเทาปัญหาโลกร้อน เนื่องจากรักษาต้นไม้ซึ่งทำหน้าที่ดูดซับก๊าซเรือนกระจก
• เสริมสร้างสุขอนามัยให้กับชาวบ้านเนื่องจากมีท่อน้ำไอเสียปล่อยออกนอกตัวบ้าน
• ได้เมี่ยงที่ถูกหลักอนามัย เนื่องจากหม้อนึ่งไอน้ำทำจากสเตนเลส
โรงไฟฟ้าพลังน้ำห้วยปูลิง (ระยะที่ 2) : ขยายระบบสายส่งไปยังโรงเรียนบ้านขุนยะ
ผู้สนับสนุน - สำนักงานโครงการพัฒนาแห่งสหประชาชาติ (UNDP)
- บริษัท ไทยออยล์ จำกัด (มหาชน)

• ผู้ดำเนินการ
- เทศบาลตำบลบ้านหลวง
- กรมอุทยานแห่งชาติ สัตว์ป่าและพันธุ์พืช (อส.)
- กรมพัฒนาพลังงานทดแทนและอนุรักษ์พลังงาน (พพ.)
- มูลนิธิพลังงานเพื่อสิ่งแวดล้อม (มพส.)
สถานที่ตั้ง อุทยานแห่งชาติดอยอินทนนท์ อ.จอมทอง จ.เชียงใหม่
เทคโนโลยี กังหันน้ำชนิด Cross Flow Turbine จำนวน 1 ชุด
เครื่องกำเนิดไฟฟ้าขนาด 30 kW (Rated Power 22 kW)
เริ่มดำเนินการ 2553
แผนงาน แสงสว่าง/โทรทัศน์/การเรียนผ่านดาวเทียม
กำลังการผลิตไฟฟ้า 86,800 kW/year
ลดการปล่อย GHG 62.1 ตัน CO2/ปี
ประโยชน์ • ลดปัญหาการตัดไม้ทำลายป่าและสร้างจิตสำนักในการอนุรักษ์ป่า
ต้นน้ำซึ่งเป็นแหล่งพลังงานในการผลิตไฟฟ้า
• การสร้างความร่วมมือภายในชุมชนในการบริหารโครงการให้เกิด
ความยั่งยืนโดยการกำหนดระเบียบและการจัดเก็บรายได้
เพื่อใช้ในการบริหารโครงการ
• ยกระดับคุณภาพชีวิตของชาวบ้านในด้านการศึกษา สาธารณสุข
• คุณภาพชีวิตที่ดีและการสร้างอาชีพ
การเรียน จ่ายไฟฟ้าให้กับโรงเรียนบ้านขุนยะ
จำนวนนักเรียน 72 คน
เปิดการเรียนการสอน : อนุบาล - ป.6
ครู 3 คน และชาวบ้าน 80 หลังคาเรือน
โรงไฟฟ้าพลังน้ำวัดจำปาทอง
ผู้สนับสนุน - บริษัท ไทยออยล์ จำกัด (มหาชน)

• ผู้ดำเนินการ
- กรมอุทยานแห่งชาติ สัตว์ป่าและพันธุ์พืช
- กรมพัฒนาพลังงานทดแทนและอนุรักษ์พลังงาน (พพ.)
- มูลนิธิพลังงานเพื่อสิ่งแวดล้อม (มพส.)
สถานที่ตั้ง วัดจำปาทอง อ.เมือง จ.พะเยา
เทคโนโลยี กังหันน้ำชนิดเครื่องปั๊มน้ำ จำนวน 1 ชุด
เครื่องกำเนิดไฟฟ้าขนาด 7.5 kW (Rated Power 5.03 kW)
เริ่มดำเนินการ พฤษภาคม 2553
แผนงาน แสงสว่าง/โทรทัศน์
กำลังการผลิตไฟฟ้า 12,375 kWh/ปี
สถานภาพ จ่ายไฟฟ้าให้วัดและที่ทำการอุทยานฯ
ลดการปล่อย GHG 14.2 ตัน CO2/ปี
ประโยชน์ • ทะนุบำรุงศาสนาและช่วยเสริมภารกิจการดูแลป่าไม้ของอุทยานฯ
• ลดปัญหาการตัดไม้ทำลายป่าและสร้างจิตสำนักในการอนุรักษ์
ป่าต้นน้ำซึ่งเป็นแหล่งพลังงานในการผลิตไฟฟ้า
• โครงการต้นแบบในการพัฒนาระบบ ผลิตไฟฟ้าจากพลังน้ำ
ขนาดเล็กที่สามารถผลิตและจ่ายไฟฟ้าที่มีคุณภาพสูง
ระยะเวลาดำเนินการ โครงการต้นแบบโครงการแรกที่ใช้เครื่องปั๊มน้ำและเครื่อง
กำเนิดไฟฟ้าชนิด AVR (Automatic Voltage Regulator)
ซึ่งสามารถจ่ายไฟฟ้าที่มีคุณภาพไฟฟ้าที่ดี
โรงไฟฟ้าพลังน้ำสถานีพัฒนาการเกษตรพื้นที่สูงตามพระราชดำริ
ผู้สนับสนุน - บริษัท ไทยออยล์ จำกัด (มหาชน)

• ผู้ดำเนินการ
- กรมอุทยานแห่งชาติ สัตว์ป่าและพันธุ์พืช
- กรมพัฒนาพลังงานทดแทนและอนุรักษ์พลังงาน (พพ.)
- มูลนิธิพลังงานเพื่อสิ่งแวดล้อม (มพส.)
สถานที่ตั้ง สถานีพัฒนาการเกษตรพื้นที่สูงตามพระราชดำริ
อ.คลองสาน จ.กำแพงเพชร
เทคโนโลยี กังหันน้ำชนิด TurkoTurbine จำนวน 1 ชุด
เครื่องกำเนิดไฟฟ้าขนาด 3 kW จำนวน 1 ชุด
เริ่มดำเนินการ เมษายน 2553
แผนงาน แสงสว่าง/โทรทัศน์
กำลังการผลิตไฟฟ้า 3,153 kWh/ปี
สถานภาพ จ่ายไฟฟ้าให้กับที่ทำการทหารพรานที่ 31 เพื่อเสริมภารกิจ
ในการปราบปรามยาเสพติด
ลดการปล่อย GHG 7 ตัน CO2/ปี
ประโยชน์ • ช่วยเสริมภารกิจในการปราบปราบยาเสพติด ซึ่งเดิมมีเพียง
ระบบผลิตไฟฟ้า จากเซลล์แสงอาทิตย์ ซึ่งไม่เพียงพอกับการ
จ่ายไฟฟ้าให้อุปกรณ์สื่อสาร เพื่อใช้ในภารกิจการปราบปราม
• สร้ามสร้างความมั่นคงบริเวณชายแดน
• เสริมภารกิจในการปราบปรามยาเสยติดสร้างขวัญกำลังใจ
ให้กับกำลังพลในการปฏิบัติงาน
ระยะเวลาดำเนินการ ตั้งแต่เดือนมีนาคม - เมษายน 2553
จ่ายไฟฟ้าตั้งแต่เดือนเมษายน 2553
โรงไฟฟ้าพลังน้ำสำหรับโรงเรียนตำรวจตระเวนชายแดน
ผู้สนับสนุน - สำนักงานคณะกรรมการกำกับกิจการพลังงาน (สกพ.)

• ผู้ดำเนินการ
- กรมพัฒนาพลังงานทดแทนและอนุรักษ์พลังงาน (พพ.)
- มูลนิธิพลังงานเพื่อสิ่งแวดล้อม (มพส.)
สถานที่ตั้ง ณ คะเนจือทะ อ.ท่าสองยาง จ.ตาก
ณ บ้านเลภะสุคี อ.แม่ระมาด จ.ตาก
เทคโนโลยี กังหันน้ำชนิด Turko ขนาด 5.5 กิโลวัตต์
Rated Power 2.51 kW
เริ่มดำเนินการ กุมภาพันธ์ 2553
แผนงาน แสงสว่าง/โทรทัศน์
กำลังการผลิตไฟฟ้า 3,153 kWh/ปี
สถานภาพ ดำเนินการจ่ายไฟฟ้าให้กับโรงเรียนในเดือนกุมภาพันธ์ 2553
ลดการปล่อย GHG 6.5 ตัน CO2/ปี
ประโยชน์ • จัดหาไฟฟ้าให้รับโรงเรียนตำรวจตระเวนชายแดน
• ยกระดับคุณภาพการศึกษาให้กับชาวบ้านในพื้นที่
• ลดการตัดไม้ทำลายป่าโดยการสร้างจิตสำนึกให้กับชุมชน
ถึงประโยชน์ของการอนุรักษ์ป่าต้นน้ำ ซึ่งเป็นแหล่งพลังงาน
ของชุมชน
• ลดปัญหายาเสพติดในพื้นที่ จากการส่งเสริมการศึกษาที่ดี
Pico - Hydro Projects
โรงไฟฟ้าพลังน้ำบ้านเปียน
ผู้สนับสนุน - บริษัท ไทยออยล์ จำกัด (มหาชน)

• ผู้ดำเนินการ
- กรมพัฒนาพลังงานทดแทนและอนุรักษ์พลังงาน (พพ.)
- มูลนิธิพลังงานเพื่อสิ่งแวดล้อม (มพส.)
สถานที่ตั้ง อ.จอมทอง จ.เชียงใหม่
เทคโนโลยี กังหันน้ำชนิด Turgo Turbine กำลังการผลิตติดตั้ง 3 kW
แผนงาน แสงสว่าง/โทรทัศน์
กำลังการผลิตไฟฟ้า 7,153 kW/ปี
สถานภาพ จ่ายไฟฟ้าให้วัดและชาวบ้านจำนวน 10 ครั้วเรือน เมื่อเดือนตุลาคม 2552
ลดการปล่อย GHG 7 ตัน CO2/ปี
ระยะเวลาดำเนินการ เริ่มจ่ายไฟฟ้าในเดือน ตุลาคม 2552
โรงไฟฟ้าพลังน้ำห้วยปูลิง (ระยะที่ 1)
ผู้สนับสนุน - สำนักงานโครงการพัฒนาแห่งสหประชาชาติ (UNDP)
- บริษัท ไทยออยล์ จำกัด (มหาชน)

• ผู้ดำเนินการ
- กรมอุทยานแห่งชาติ สัตว์ป่าและพันธุ์พืช (อส.)
- กรมพัฒนาพลังงานทดแทนและอนุรักษ์พลังงาน (พพ.)
- มูลนิธิพลังงานเพื่อสิ่งแวดล้อม (มพส.)
สถานที่ตั้ง อุทยานแห่งชาติดอยอินทนนท์ อ.จอมทอง จ.เชียงใหม่
เทคโนโลยี กังหันน้ำชนิด Cross Flow Turbine จำนวน 1 ชุด
เครื่องกำเนิดไฟฟ้าขนาด 30 kW (Rated Power 22 kW)
เริ่มดำเนินการ กรกฎาคม 2552
แผนงาน แสงสว่าง/โทรทัศน์
กำลังการผลิตไฟฟ้า 86,800 kW/ปี
สถานภาพ จ่ายไฟฟ้าให้วัด โบถส์ โรงเรียนด่านป่าไม้ และชาวบ้านรวม
3 หมู่บ้าน กว่า 100 ครัวเรือน โดยมีแผนขยายระบบส่งไฟฟ้า
เพิ่มเติมอีก 2 หมู่บ้าน
ลดการปล่อย GHG 62.1 ตัน CO2/ปี
ประโยชน์ • ลดปัญหาการตัดไม้ทำลายป่าและสร้างจิตสำนักในการอนุรักษ์
ป่าต้นน้ำซึ่งเป็นแหล่งพลังงานในการผลิตไฟฟ้า
• การสร้างความร่วมมือภายในชุมชนในการบริหารโครงการ
ให้เกิดความยั่งยืนโดยการกำหนดระเบียบและการจัดเก็บรายได้
เพื่อใช้ในการบริหารโครงการ
• ยกระดับคุณภาพชีวิตของชาวบ้านในด้านการศึกษา สาธารณสุข
• คุณภาพชีวิตที่ดีและการสร้างอาชีพ
ระยะเวลาดำเนินการ เริ่มดำเนินการก่อสร้าง มกราคม 2552
ก่อสร้างแล้วเสร็จและเริ่มจ่ายไฟฟ้าในเดือนกรกฏาคม 2552
ขยายระบบส่งไฟฟ้าเพิ่มเติม 66 ครัวเรือนแล้วเสร็จ
และทำโครงการขยายระบบส่งไฟฟ้าไปยังโรงเรียนบ้านขุนยะ
และชาวบ้านอีก 100 ครัวเรือน ในปี 2553
โรงไฟฟ้าพลังน้ำบ้านเกร๊ะคี
ผู้สนับสนุน - สำนักงานโครงการพัฒนาแห่งสหประชาชาติ (UNDP)

• ผู้ดำเนินการ
- อบต.แม่วะหลวง
- Border Green Energy Team (BGET)
- มูลนิธิพลังงานเพื่อสิ่งแวดล้อม (มพส.)
สถานที่ตั้ง บ้านเกร๊ะคี อ.ท่าสองยาง จ.ตาก
เทคโนโลยี กังหันน้ำชนิดเครื่องปั๊มน้ำขนาด 2 kW จำนวน 1 ชุด
เริ่มดำเนินการ มีนาคม 2552
แผนงาน แสงสว่าง/โทรทัศน์
กำลังการผลิตไฟฟ้า 12,600 kW/ปี
สถานภาพ จ่ายไฟฟ้ากับชาวบ้านรวม 20 ครัวเรือน
ลดการปล่อย GHG 2.59 ตัน CO2/ปี
ประโยชน์ • ลดปัญหาการตัดไม้ทำลายป่าและสร้างจิตสำนักในการอนุรักษ์
ป่าต้นน้ำซึ่งเป็นแหล่งพลังงานในการผลิตไฟฟ้า
• การสร้างความร่วมมือภายในชุมชนในการบริหารโครงการ
ให้เกิดความยั่งยืน
• ยกระดับคุณภาพชีวิตของชาวบ้านในด้านการศึกษา สาธารณสุข
• คุณภาพชีวิตที่ดีและการสร้างอาชีพ
ระยะเวลาดำเนินการ เริ่มดำเนินการก่อสร้างในเดือนกุมภาพันธ์ 2552
ก่อสร้างแล้วเสร็จและเริ่มจ่ายไฟฟ้าในเดือนมีนาคม 2552
โรงไฟฟ้าพลังน้ำบ้านตะโป๊ะปู่
ผู้สนับสนุน - สำนักงานโครงการพัฒนาแห่งสหประชาชาติ (UNDP)
- สถานฑูตออสเตรเลีย

• ผู้ดำเนินการ
- อบต.แม่ต้าน
- Border Green Energy Team (BGET)
- มูลนิธิพลังงานเพื่อสิ่งแวดล้อม (มพส.)
สถานที่ตั้ง - บ้านตะโป๊ะปู่ อ.ท่าสองยาง จ.ตาก
เทคโนโลยี กังหันน้ำชนิดเครื่องปั๊มน้ำขนาด 6 kW จำนวน 2 ชุด
ขนาดกำลังการผลิตติดตั้งรวม 12 kW
เริ่มดำเนินการ มกราคม 2552
แผนงาน แสงสว่าง/โทรทัศน์
กำลังการผลิตไฟฟ้า 28,800 kWh/ปี
สถานภาพ จ่ายไฟฟ้ากับชาวบ้านรวม 60 ครัวเรือน
ลดการปล่อย GHG 15.52 ตัน CO2/ปี
ประโยชน์ • ลดปัญหาการตัดไม้ทำลายป่าและสร้างจิตสำนักในการอนุรักษ์
ป่าต้นน้ำซึ่งเป็นแหล่งพลังงานในการผลิตไฟฟ้า
• การสร้างความร่วมมือภายในชุมชนในการบริหารโครงการ
ให้เกิดความยั่งยืน
• ยกระดับคุณภาพชีวิตของชาวบ้านในด้านการศึกษา สาธารณสุข
• คุณภาพชีวิตที่ดีและการสร้างอาชีพ
ระยะเวลาดำเนินการ เริ่มดำเนินการก่อสร้างในเดือนธันวาคม 2551
ก่อสร้างแล้วเสร็จและเริ่มจ่ายไฟฟ้าในเดือนมกราคม 2552
Biogas Projects
โครงการผลิตก๊าซชีวภาพจากฟาร์มเลี้ยงสัตว์
ผู้สนับสนุน - สำนักงานโครงการพัฒนาแห่งสหประชาชาติ (UNDP)

• Implementing Agency
- ศูนย์เรียนรู้เศษฐกิจพอเพียง
- มูลนิธิพลังงานเพื่อสิ่งแวดล้อม (มพส.)
สถานที่ตั้ง - ศูนย์เรียนรู้เศษฐกิจพอเพียง
อ.หนองแค จ.สระบุรี
- สหกรณ์โคนมหินซ้อน
อ.แก่งคอย จ.สระบุรี
เทคโนโลยี Fixed Dome
ศูนย์เรียนรู้เศษฐกิจพอเพียง: สุกร 300 ตัว
สหกรณ์โคนมหินซ้อน : โคนม 100 ตัว
เริ่มดำเนินการ กุมภาพันธ์ 2552
สถานภาพ จ่ายก๊าซชีวภาพให้กับชาวบ้านโครงการละ 20 ครัวเรือน รวมถึงวัด
ลดการปล่อย GHG โครงการละ 94.24 ตัน CO2/ปี (2 โครงการ: 188.5 ตัน CO2/ปี)
ประโยชน์ • ลดรายจ่ายจากการใช้ก๊าซหุงต้มในการหุงหาอาหาร
• ลดปัญหามลภาวะทางกลิ่นที่เกิดจากน้ำเสียจากฟาร์มเลี้ยงสัตว์
• ลดปัญหาความขัดแย้งระหว่างฟาร์มเลี้ยงสัตว์กับชุมชน
• การสร้างความร่วมมือภายในชุมชนในการบริหารโครงการ
ให้เกิดความยั่งยืน โดยกำหนดให้มีการจัดเก็บค่าธรรมเนียม
โดยผู้แทนชุมชน เพื่อใช้เป็นค่าใช้จ่ายในการซ่อมบำรุงระบบ
ระยะเวลาดำเนินการ เริ่มดำเนินการก่อสร้างในเดือนกุมภาพันธ์ 2552
ก่อสร้างแล้วเสร็จและเริ่มจ่ายก๊าซชีวภาพเพื่อทดแทนการใช้
ก๊าซหุงต้มของชาวบ้านตั้งแต่เดือนมิถุนายน 2552
Training on Solar Cell System Maintenance and Repair under Solar Home Project
โครงการอบรมการซ่อมแซมอุปกรณ์ผลิตไฟฟ้าจากเซลล์แสงอาทิตย์และการบำรุงรักษา โครงการ Solar Home
ผู้สนับสนุน - สำนักงานโครงการพัฒนาแห่งสหประชาชาติ (UNDP)

• ผู้ดำเนินการ
- Border Green Energy Team (BGET)
- มูลนิธิพลังงานเพื่อสิ่งแวดล้อม (มพส.)
สถานที่ตั้ง หมู่บ้านตะโป๊ะปู่ อ.ท่าสองยาง จ.ตาก
หมู่บ้านเกร๊ะคี อ.ท่าสองยาง จ.ตาก
บ้านแม่ยะน้อย อ.จอมทอง จ.เชียงใหม่
ประโยชน์ ไฟฟ้าแสงสว่าง
Small Wind Turbine
โครงการติดตั้งกังหันลม ณ โรงเรียนปัญญาประทีป
ผู้สนับสนุน - สำนักงานโครงการพัฒนาแห่งสหประชาชาติ (UNDP)

• ผู้ดำเนินการ
- Border Green Energy Team (BGET)
- มูลนิธิพลังงานเพื่อสิ่งแวดล้อม (มพส.)
สถานที่ตั้ง อ.ปากช่อง จ.นครราชสีมา
เทคโนโลยี กังหันลมขนาด 400 W จำนวน 2 ชุด, กำลังการผลิตติดตั้ง 800 W
แผนงาน แสงสว่าง
กำลังการผลิตไฟฟ้า 625 kWh/ปี
ลดการปล่อย GHG 0.34 ตัน CO2/ปี
ประโยชน์ เพื่อใช้กับระบบส่องสว่างและห้องเรียนวิทยาศาสตร์ของโรงเรียน
โครงการติดตั้งกังหันลมผลิตไฟฟ้าขนาดเล็ก
ผู้สนับสนุน - สำนักงานโครงการพัฒนาแห่งสหประชาชาติ (UNDP)

• ผู้ดำเนินการ
- Border Green Energy Team (BGET)
- มูลนิธิพลังงานเพื่อสิ่งแวดล้อม (มพส.)
สถานที่ตั้ง อ.ตากใบ จ.นราธิวาส
อ.ยะหริ่ง จ.ปัตตานี
อ.สทิงพระ จ.สงขลา
อ.เมือง จ.พัทลุง
เทคโนโลยี กังหันลมขนาดเล็ก 4 ตัว (ความจุ 1 กิโลวัตต์)
แผนงาน แสงสว่าง/โทรทัศน์
กำลังการผลิตไฟฟ้า 2,628 kWh/ปี
ลดการปล่อย GHG 1.41 ตัน CO2/ปี
Copyright © 2011 Energy For Environment Foundation. All right reserved.
812/66 ซอยประชาชื่น 26 ถนนประชาชื่น แขวงวงศ์สว่าง เขตบางซื่อ กรุงเทพฯ 10800
โทรศัพท์ +66 2115 5895  E-mail : jutamas.efe@gmail.com